วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555

http:wownamsiri040.blogspot.com

                                   บทที่  3  การประมวลผลข้อมูล

ตอนที่  1  อธิบาย  (หมายถึง  การให้รายละเอียดเพิ่มเติม  ขยายความ  ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ)  ตอบแบบสั้น


1.  ข้อมูลปฐมภูมิและข้อทุติยภูมิต่างกันอย่างไร
ตอบ.  ข้อมูลปฐมภูมิ  คือ  ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง  เป้นการค้นหาขัอมูลโดยตนเอง  จากการสัมภาษณ์  สอบถาม    สอบถาม  เช่นการสำรวจประชากร
          ส่วนข้อมูลทุติยภูมิ  คือ  ข้อมูลที่มีผู้เก้บรวมรวมไว้แล้วสามารถนำมาใช้งานได้ทันที

2.  อธิบายความหมายของ   "เขตข้อมูล"   ( Field  )
ตอบ.  ประกอบด้วย  ชุดของอักขระที่สัมพันธ์กัน  เช่น  ในการจัดทำป้ายจ่าหน้าซองจดหมายถึงสมาชิกของศูนย์  ข้อมูลแต่ละบุคคล  อาจจะประกอบด้วยเขตข้อมูลหมายเลขสมาชิก เขตข้อมูลที่อยู่  เขตจังหวัด  เป็นต้น

3.  วิธีจัดการแฟ้มข้อมูลแบบใดเข้าถึงข้อมูลได้เร็วที่สุด  เพราะเหตุใดและมีประโยชน์อย่างไร  ยกตัวอย่าง
ตอบ.  แบบเรียงลำดับ  เพราะเป้นการจัดเก็บข้อมูลแบบเรียงลำดับทุก  ๆ  ระเบียบ  เพื่อให้หน่วยงานที่มีข้อมูลจำนวนมากและเป้นครั้งเป็นคราว  เพื่อให้การประมวลผผลเข้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ  เช่น  การปรับปรุงเงินเดือนพนักงาน  โดยใช้หมายเลขประกันสังคมเป็นคีย์หลัก


ตอนที่  3  อธิบายศัพท์
1.  System  Analyst
     มีหน้าที่วิเคราะห์  ออกแบบ และนำสารสนเทศบนคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานมาใช้งาน


2.  MIS
     บุคคลากร  เกี่ยวกับตำแหน่ง  บทบาท  และความรับผิดชอบที่สำคัญของบุคลากร


3.  DSS
         ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ  เป็นความก้าวหน้าของระบบการรายงานสารสนเทศ


4.  EIS
        ระบบสารุสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง  เป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้สารสาเทศสำหรับการวางแผน


5.ES
      ระบบผู้เชี่ยวชาญ  เป็นส่วนหรึ่งในการค้นคว้าระบบ   "ปัญญาประดิษฐ์"


6.Knowledge  Base
          ฐานความรู็  เป็นศูนย์กลางของระบบผู้เชี่ยวชาญ


7.User  INterface
         ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้  คือ  เครืองหมายหรือสัญลักษณ์บนจอภาพ


8.Inference  Engine  
            เครื่องอนุมาน  คือ  ระบบของโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญ


9.  Data  Structured
           โครสร้างข้อมูล  การประมวลผลข้อมูลในคอมพิวเตอร์


10.  Semi  Structured  
             ข้อมูลความรู้จะเป็นลักษณะแบบกึ่งโครงสร้าง






                                               บทที่  4    การวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
ตอนที่  1  อธิบาย  (หมายถึง  การให้รายละเอียดเพิ่มเติม  ขยายความ  ถ้ามีตัวอย่างให้ยกตัวอย่างประกอบ)  ตอบแบบสั้น

1.  อธิบายความหมายของ  "การวิเคราะห์ระบบ"
ตอบ.  คือ  กระบวนการเกี่ยวกับการศึกษาระบบที่มีอยู่แล้ว  เพื่อกำหนดวิธีการทำงานและวิธีการทำงานและวิธีที่ผู้ใช้ต้องการ  การวิเคราะห์ระบบเป็นการวางแผลงาน  การทำงานเพื่อปรับปรุงระบบให้ดีขึ้น  การสำรวจ  การสร้งความสัมพันธ์


2.วงจรการพัฒนาระบบมีกี่ขั้นตอน  อะไรบ้าง
ตอบ.  มี  5  ขั้นตอน  ดังนี้
          1.  ขั้นเตรียมการ สำรวจ  กำหนดปัญหา
          2.  การวิเคราหะห์  ทำความเข้าใจกับระบบเดิม
          3.  การออกแบบ  การวางแผนออกแบบระบบใหม่
          4.  การพัมนา  การทำงานเพื่อให้ได้ระบบงานใหม่ตามที่ออกแบบไว้
          5.  การนำไปใช้  การเปลี่ยนแปลงให้ใ้ช้ระบบใหม่


3.แผนภาพกระแสข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ.  มีประโยชน์สำหรับการอธิบายกระบวนการทำงานและไหลเวียนข้อมูล  ช่วยในการสื่อสารระหว่างนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้ระบบ


ตอนที่  3    อธิบายสัญลักษณ์ในการเขียนผังงานต่อไปนี้
1.    การประมวลผลข้อมูล  การกำหนดค่า  การโยกย้ายข้อมูล
2.  หน่วยรับหรือแสดงข้อมูล  โดยไม่ระบุอุปกรณ์
3.  แสดงจุดเริ่มต้นหรือสิ้นสุดของโปรแกรม
4.  แสดงผลจอทางจอภาพ
5.  แสดงผลทางเครื่องพิมพ์
6.  กำหนดเงื่อนไข  ทางเลือก  การเปรียบเทียบ
7.  โปรแกรมย่อย  หรือโมดูล
8.  การเตรียมทำงานลำดับต่อไป
9.  จุดเชื่อมต่อผังงานในหน้าเดียวกัน
10.  จุดเชื่อมต่อผังงานที่อยู่หน้าต่างกัน




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น